วันอังคารที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559

สิ่งที่ได้รับ

๑) ด้านความรู้

     การใช้คำ กวีใช้คำที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะเด่นสะดุดความสนใจ
๑.๑)   เลือกสรรคำที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
๑.๒)  การเลือกสรรคำที่มีเสียงเสนาะ
๑.๓)  ภาพพจน์  อ่านเพิ่มเติม

บทวิเคราะห์

ด้านกลวิธี การแต่ง
1.การใช้คำ
        กวีใช้คำที่งดงามทั้งรูป ความหมายและเสียงที่ไพเราะ โดยเฉพาะร่ายสดุดีที่มีลักษณะเด่นสะดุดความสนใจมีการเลือกสรรคำที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง
1.1 เลือกสรรคำที่เหมาะกับเนื้อเรื่อง  
     -แย้มฟ้า  เป็นคำที่ใช้ง่ายที่มีรูปคำงาม เสียงไพเราะ มีความหมายดี และให้ภาพที่ชัดเจนว่ากรุ        อ่านเพิ่มเติม

ความรู้เพิ่มเติม

วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดอรุณราชวราราม หรือที่เรียกสั้น ๆ ว่า วัดอรุณ เป็นวัดโบราณ สร้างในสมัยอยุธยา ว่ากันว่าเดิมเรียกว่า วัดมะกอก และกลายเป็นวัดมะกอกนอกในเวลาต่อมาเพราะได้มีการสร้างวัดขึ้นอีกวัดหนึ่งในตำบลเดียวกัน แต่อยู่ในคลองบางกอกใหญ่ชาวบ้านเรียกวัดที่สร้างให อ่านเพิ่มเติม

ตัวอย่างคำศัพท์ที่น่าสนใจ

๒.อยุธยายศล่มแล้ว                        ลอยสวรรค์ ลงฤา
สิงหาสน์ปรางค์รัตน์บรร                   เจิดหล้า
บุญเพรงพระหากสรรค์                     ศาสน์รุ่ง เรืองแฮ
บังอบายเบิกฟ้า                              ฝึกฟื้นใจเมือง
สิงหาสน์        (สิงห+อาสน์) ที่นั่งแห่งผู้มีอำนาจดังราชสีห์ คือ พระที่นั่งเจ้าแผ่นดิน
บรรเจิดหล้า   งามในโลก
เพรง             เก่า ก่อน
บังอบาย        ปิดทางไปสู่ความชั่ว
เบิกฟ้า           เปิดทางไปสู่ความดี

ฝึกฟื้นใจเมือง ฟื้นฟูจิตใจชาวเมืองให้พ้นจา อ่านเพิ่มเติม

ข้อคิดที่ได้จากนิราศนรินทร์คำโคลง

๑.พระบารมีของพระมหากษัตริย์นั้นเกิดแต่การบำเพ็ญกุศลทั้งในกาลก่อนและกาลปัจจุบัน
๒. ศิลปะการก่อสร้างที่ประณีตงดงาม  ย่อมเป็นสิ่งดลใจให้กวีสร้างสรรค์บทประพันธ์ที่ประณีตไปด้วย
๓. ความห่วงใยหวงแหนอันเนื่องมาจากความรักของมนุษย์ เมื่อเกิดขึ้นกับคนที่มีอารมณ์กวี ย่อมจรรโลงใจให้แสดงออกซึ่งงานสร้างสรรค์บทประพั อ่านเพิ่มเติม

เนื้อเรื่องย่อ

    นิราศนรินทร์คำโคลง เริ่มเรื่องด้วยร่ายสุภาพยอพระเกียรติพระมหากษัตริย์ แล้วกว่าถึงความเจริญของบ้านเมือง จากนั้นรำพันถึงการจากนางอันเป็นที่รักและพรรณนาสถานที่ที่เดินทางผ่านไปโดยนายนรินทรธิเบศร์ (อิน) ออกเดินทางจากคลองขุด ผ่านวัดแจ้ง คลองบางก อ่านเพิ่มเติม

ประวัติผู้แต่ง

    ประวัติของนายนรินทร์ นั้น ไม่เป็นที่ทราบกันแน่นอน แต่เดิมทีนายนรินทร์มีชื่อว่า "นายทองอินทร์" (อิน) ซึ่งได้รับราชการเป็นมหาดเล็ก ฝ่ายพระรับราชวังบวร (วังหน้า) ในสมัยรัชกาลที่ ๒ ได้รับพระราชทานยศเป็นหุ้มแพร หรือว่า เป็นที่รู้จักกันในนามบรรดาศักดิ์ในสมัยโบ อ่านเพิ่มเติม